ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานนักเรียนของ นายภูเมธ เภารัศมี ได้เลยครับ

วันศุกร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บทที่3 ความน่าจะเป็น

ความรู้เดิมที่ผู้เรียนต้องทราบ
     1. ข้อความคาดการณ์ เป็นกระบวนการที่ใช้การสังเกตหรือการทดลองหลายๆครั้ง แล้ว รวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่จะน าไปสู่ข้อสรุป ซึ่งเชื่อว่ามีความเป็นไปได้มากที่สุด แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ ว่าเป็นจริง
     2. อัตราส่วนและร้อยละ ( Ratio and Percent ) อัตราส่วน คือ การเปรียบเทียบจ านวนสิ่งของชนิดเดียวกันตั้งแต่สองจ านวนขึ้นไป เช่น การแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมไทยกับทีมเวียดนาม คาดว่าไทยจะชนะ 5 ต่อ 2 ร้อยละ คือ เศษส่วน หรืออัตราส่วนที่มีส่วนเป็น 100 อาจแทนด้วยคำว่า “ เปอร์เซ็นต์ (%) ”                  เช่น พรุ่งนี้จะมีฝนตก ของพื้นที่ คาดว่านักท่องเที่ยวแถบอันดามันลดลง ความน่าจะเป็น ( Probability ) ในชีวิตประจำวันเรามักจะได้ยินค าพูดที่เกี่ยวกับการคาดคะเน การท านาย โอกาส หรือความ เป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ที่กล่าวถึง แต่ไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่าเหตุการณ์เหล่านั้นจะเกิดขึ้น หรือไม่ จนกว่าจะถึงเวลาที่กำหนด อ่านเพิ่มเติม

บทที่2 อัตตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

คำว่า “ตรีโกณมิติ” ตรงกับคำ ภาษาอังกฤษ “Trigonometry” หมายถึง การวัด รูปสามเหลี่ยมได้มีการนำความรู้วิชาตรีโกณมิติไปใช้ในการหาระยะทาง พื้นที่ มุม และทิศทางที่ยากแก่การวัดโดยตรง เช่น การหาความสูงของภูเขา การหาความกว้างของแม่น้ำ เป็นต้น              จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก


เมื่อพิจารณามุม A
BC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A ยาว a หน่วย
CA เรียกว่า ด้านประชิดมุม  A ยาว b หน่วย
AB เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ยาว c หน่วย

เมื่อพิจารณามุม B
AC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม B ยาว b หน่วย
CB เรียกว่า ด้านประชิดมุม B ยาว a หน่วย
BA เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ยาว c หน่วย


            สรุปได้ว่าในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก

บทที่1 เลขยกกำลัง

      เลขยกกําลัง ถา a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเตม็ บวก “ a กําลัง n” หรือ “ a กําลัง n” เขียนแทนดวย an มีความหมายดังนี้ a n = a × a × a ×… a (a คูณกัน n ตัว) n ตัว เรียก an วาเลขยกกําลัง (power) โดยมี a คือฐาน (base) และ n คือเลขยกกําลัง (exponent) ระบบจํานวนเต็ม 1. จํานวนเตม็ - จํานวนเต็มลบ - ศูนย - จํานวนเต็มบวก ขอสรุป 1) 1 เปนจํานวนนับ หรือจํานวนเต็มบวกทนี่ อยที่สุด 2) ไมมีจํานวนนบั หรือจํานวนเต็มบวกที่มากที่สุด 3) ไมมีจํานวนเตมลบท ็ ี่นอยที่สุด 4) -1 เปนจํานวนเต็มลบ ที่มากที่สุด 5) บนเสนจํานวน จํานวนที่แทนดวยจดทุ ี่อยทางซ ู ายจะมีคาน อยกวาจํานวนที่แทนดวย จุดที่อยูทางขวาเสมอ อ่านเพิ่มเติม